วันเสาร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่15

                                       
                                                                บันทึกอนุทิน
                                      วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

                                         อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                                        วัน/เดือน/ปี   27 กันยายน  2556      ครั้งที่ 15
                                         เวลาเข้าสอน  08.00 น.    เวลาเรียน 08.30  น.
                                         เวลาเลิกเรียน   12.20 น.


                 วันนี้ อาจารย์เบียร์ให้เขียนMy mappingว่าความรู้ที่ได้จากวิชา  การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย  อะไรบ้าง


     
ผลงานของหนูคะ ;D
      

จะนั้นอาจารย์ตฤณ ก็ประกาศรายชื่อ นักศึกษาที่ได้ตัวปั๊มเยอะที่สุดในห้อง
 คือ.....  นส.พาธินธิดา เฉลิมบุญ    


                                  คนที่2 คือ ..................  นส.อานิทิมล  เสมมา  (ดิฉันเอง)  ;D


ฟันเหมือนกันเลยย  ^^


  คนที่3 คือ......... นส. ศิรดา สักบุตร



(ไม่มีรูป)





รวมค่าาา

1 2 3 เชะ







ครั้งที่14

 บันทึกอนุทิน
                                วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

                                          อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                                        วัน/เดือน/ปี   20 กันยายน  2556      ครั้งที่ 14
                                         เวลาเข้าสอน  08.00 น.    เวลาเรียน 08.30  น.
                                         เวลาเลิกเรียน   12.20 น.



                                                       การจัดหน่วยการเรียนรู้ปฐมวัย



              วันนี้อาจารย์ให้จับกลุ่มกับเพื่อนๆเพื่อ ออกแบบการจัดหน่วยการเรียนรู้ให้กับเด็กปฐมวัย

 อาจารย์ได้แจกกระดาษให้พวกเรากลุ่มละ 2 แผ่นแผ่นแรกให้เขียนแผนผัง   (My mapping)  แผ่นที่2 เขียน แผนการเรียน


กลุ่มของดิฉันทำ หน่วยของต้นกล้วยค่าาาา
                                                             



                                                                 หน่วยต้นกล้วย

                                                                       แผ่นที่1

หน่วยต้นกล้วย        ประกอบด้วย  

การขยายพันธ์    ; การใช้เมล็ด    การใช้หน่อ    การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

ประโยชน์ 
ลำต้น ;      ทำกระทง   อาหารสัตว์  ทำอาหาร 
ใบตอง;     ห่อขนม   บายศรี  ทำกระทง  ห่ออาหาร  สานเป็นของเล่น
ผลกล้วย;  กล้วยฉาบ กล้วยทับ  กล้วยปิ้ง ขนมกล้วย   กล้วยต้ม  กล้วยบวชชี
หัวปลี ;      ประกอบอาหาร เช่น  ต้มข่าไก่  ห่อหมก  เป็นต้น

ลักษณะประกอบด้วย  ;  ลำต้น   หัวปลี    ใบตอง

ชนิดของกล้วย .;
กล้วยไข่  กล้วยเล็บมือนาง  กล้วยหอม  กล้วยเปรี้ยว กล้วยตานี กล้วยขม  กล้วยน้ำว้า  กล้วยหอมเขียว

    ต่อจากนั้นก็ทำ   แผนการจัดการเรียนรู้  เลือกหัวข้อจาก   หน่วยการเรียนรู้เรื่องกล้วยที่ทำไป ซึ่งกลุ่มดิฉันเลือก หัวข้อ ประโยชน์จากใบตองในการทำกระทง

                                                           

                                                               แผนที่2

                                                      แผนการจัดการเรียนรู้
                                                 
ชื่อแผน   กระทงของหนู

วัตถุประสงค์  

1. เด็กสามารถบอกความสำคัญของระทงได้
2. เพื่อให้เด็กฝึกการจิตนาการและความคิดสร้างสรรค์
3. เพื่อให้เด็กได้ฝึกกล้ามเนื้อมือในการทำกระทง
4. เพื่อให้เด็กมีปฎิสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนๆ
5. เพื่อให้เด็กกล้าแสดงออก ในผลงานของตน


สาระการเรียนรู้

การทำกระทง ด้วยตนเอง

วิธีการดำเนินการ

-ขั้นนำ  ครูสอนเด็กร้องเพลงวันลอยกระทง

-ขั้นสอน 

1.สาธิตขั้นตอนการทำกระทง
2. สอนให้เด็กลงมือปฏิบัติ
3.ให้เด็กแสดงผลงานของตนเอง

-สรุป 

คุณครูและเด็กร่วมกันสรุปถึงความสำคัญของกระทง

การประเมิน

1. การบอกความสำคัญของกระทงโดยที่ครูและเด็กร่วมกันสนทนา ออกความคิดเห็นต่างๆ
2. เด็กมีความคิดที่แปลกใหม่ และจินตนาการได้ดีในการทำงาน
3. เด็กหยิบจับ นี่ นั้น โน่น ได้คล้อง และ ฝึกกล้ามเนื้อมือได้ในระดับดี
4. เด็กสามารถยอมรับ ความคิดเห็นของคนอื่น และ แสดงความคิดเห็นของตนเองให้คนอื่นรับรู้ได้
5. พร้อมที่จะโชว์ผลงานตนเอง และภูมิใจในผลงานคนเอง

                                           

                                                                บรรยากาศในการทำในกลุ่มคะ

      


**ได้มีการเปลี่ยนแปลง



บันทึกอนุทิน ครั้งที่13

บันทึกอนุทิน ครั้งที่14
   วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

 อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
            วัน/เดือน/ปี   13 กันยายน  2556      ครั้งที่ 14
   เวลาเข้าสอน  08.00 น.    เวลาเรียน 08.30 น.
   เวลาเลิกเรียน   12.20 น.


                                                        มุม สำหรับเด็กปฐมวัย

                   มุมประสบการณ์ที่สนันสนุนการเรียนรู้และสาระทักษะทาง
ภาษา   เช่น   มุมหนังสือ     มุมบทบาทสมมติ     มุมศิลปะ     มุมดนตรี    มุมบล็อก   มุมวิทยาศาสตร์       อื่นๆ



           วันนี้มีกิจกรรมเกี่ยวกับการออกแบบมุม ต่างๆ     เพื่อนๆและกลุ่มดิฉันมีมุมต่างๆหลากหลายแบบ คือ มุมสัตว์  มุมบทบาทสมมติ  มุมศิลปะ   มุมอาเซียน   มุมสวนดอกไม้   มุมสัญญาณจราจร 



                                                    กลุ่มของดิฉัน มุมสวนดอกไม้


                                                   กำลังเริ่มลงมือ วางแบบการจัดมุมสวนดอกไม้







             




พีเซ้นคะ ;D










การจัดมุมของกลุ่มเรา ว่าเกี่ยวกับทักษะทางภาษาของเด็กอย่างไร......

    การจัดมุมสวนดอกไม้นี้สื่อถึงความอ่อนโยน ละเอียดอ่อน  เพื่่อส่งเสริมพัฒนาทุกด้าน  และเป็นประสบการณ์ที่ใกล้ตัวเด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมของเด็ก     ที่เด็กเคยพบเจอดอกไม้นาๆชนิด มีกลิ่นหอมที่แตกต่างกันออกไป    เด็กใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ตา หู จมูก และกายสัมผัสด้วยกาย ในการศึกษามุมนี้เด็กได้ คือ
1. การได้เห็น  เกิดจากการใช้ประสาทสัมผัสทาง ตา เพื่อให้ไวต่อการสร้างสรรค์ผลงาน การสังเกตสิ่งที่ตนเองชอบและสนใจ
  
2. การได้ยิน  เกิดจากการใช้ประสาทสัมผัสทาง หู เช่น การได้ยินเสียงลม เสียงแมลงมากินน้ำหวานจากเกสร

3. การได้กลิ่น  เกิดจากการใช้ประสาทสัมผัสทาง จมูก เช่นการดมดอกไม้ดอกนั้น และสามารถบอกได้ว่าเป็นกลิ่นอะไรแสดงสีหน้าท่าทางอย่างไรเมื่อได้กลิ่นนั้น

4.  การได้ลิ้มรส  เกิดจากการใช้ประสาทสัมผัสทาง ลิ้น เช่น เด็กอยากลองลิ้มรสของเกสรดอกไม้ นั้นๆ และสามารถแสดงสีหน้าท่าทางเมื่อได้รับรู้รสนั้น

5.  การได้สัมผัส  เกิดจากการใช้ประสาทสัมผัสทาง มือ หรือ ผิวหนังส่วนอื่น เช่น การสัมผัสดอกไม้แต่ละชนิดว่ามีลักษณะอย่างไร เช่น ผิวหยาบ ผิวนุ่ม ผิวแข็ง และเมื่อได้สัมผัสสิ่งนั้น ๆ มีท่าทางความรู้สึกอย่างไร

      ซึ่งนอกจากนี้แล้วดอกไม้ยังสื่่อถึงการ ช่วยเติมสีสันให้เเก่โลก ทำให้โลกสวยงาม  ดอกไม้บางชนิดนำมาเป็นอาหารได้  กินได้ เช่น   ดอกเเค   ดอกทานตะวัน  เป็นต้น    นำมาประดับตกเเต่งบ้านได้    เป็นตัวกลางในการสือความหมายต่างๆเช่นบอกรัก เป็นกำลังใจ หวังดี เช่นดอกกุหลาบ  ใช้ในพิธีต่างๆเช่น วันเเม่ วันพ่อ วันครู เป็นต้น และ  ส่งกลิ่นหอมเป็นผลดีต่อสุขภาพอีกด้วย 

               ดังนั้นการสื่อภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย ไม่ใช่เรื่องยากเพียงแต่ว่าเราจะจัดการออกแบบมุมนั้นๆออกมาแล้วเด็กได้ประโยชน์มากน้อยเพียงใดในการสื่อภาษา  

วันพฤหัสบดีที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2556

บัทึกอนุทิน ครั้งที่12

                                                      บันทึกอนุทิน
                                    วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                                             อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิ่น
                                          วัน /เดือน/ปี  6  กันยายน  2556   ครั้งที่ 12
                                        เวลาเข้าสอน  08.00น. เวลาเรียน  08.30 น.
                                              เวลาเลิกเรียน  12.20 น.

                               การจัดสภาพแวดล้อม เพื่อส่งเสริมประสบการณ์ทางภาษา

                    -สร้างสภาพแวดล้อมให้เด็กคุ้นเคยกันการใช้ภาษาอย่างมีความหมายและเป็นองค์ประกอบ

                    -เด็กได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะทางภาษา โดยไม่เน้นเนื้อหาทางภาษา

                                                                           หลักการ

                  -สอดคล้องกับการเรียนรู้ของเด็ก ส่งเสริมให้เด็กสำรวจปฏิบัติจริง เป็นผู้กระทำด้วยตนเอง                   เปิดโอกาสให้เด็กเป็นอิสระ ได้สังเกตและตั้งสมมุติฐาน

                 -สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการมีปฎิสัมพันธ์ระหว่งเด็กกับบุคคลรอบข้าง เด็กควรได้สื่อสารทั้งสอง               ทาง คือ ผู้รับกับผู้ฟัง

                -สิ่งแวดล้อมที่เน้นความหมายมากกว่ารูปแบบ  ควรยอมรับการสื่อสารของเด็กในรูปแบบต่างๆ              โดยคำนึงถึงความหมายที่เด็กต้องการสื่อมากกว่าความถูกต้องทางไวยากรณ์

               -สิ่งแวดล้อมประกอบด้วยความหลากหลายทั้งด้านวาจา แลไม่ใช้วาจา เด็กควรได้รับการมี                   ประสบการณ์และ ปฎิสัมพันธ์หลายๆรูปแบบ


                        มุมประสบการณ์ที่สนันสนุนการเรียนรู้และสาระทักษะทางภาษา

                                                  -มุมหนังสือ        -มุมบทบาทสมมติ

                                                   -มุมศิลปะ           -มุมดนตรี

                                                   -มุมบล็อก           -มุมวิทยาศาสตร์

                                                    -อื่นๆ


                    ลักษณะของการจัดมุมในชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมทักษะทางภาษา

              -มีพื้นที่ให้เด็กสามารถทำกิจกรรม
              -เด็กรู้สึกผ่อนคลาย เมื่ออยู่ในมุม
              -บริเวณใกล้ๆมีอุปกรณ์เครื่องเขียน  เช่น ดินสอ สี กระดาษ  กรรไกร    กาว
              -เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผน  ออกแบบ

มุมหนังสือ ควรมี ชั้นวางหนังสือประเภทต่างๆ ที่เหมาะสมกับวัย  มีบรรยากาศ สงบ และอบอุ่น  มีพื้นที่ในการอ่านลำพัง  และเป็นกลุ่ม  มีอุปกรณ์สำหรับการเขียน

มุมบทบาทสมมติ ควรมี สื่ออุปกรณ์ที่สามารถให้เด็กเข้าไปเล่นได้  มีพื้นที่เพียงพอ

มุมศิลปะ ควรจัดอุปกรณ์ที่หลากหลาย เช่น สีเมจิก  ดินสอ  ยางลบ กรรไกร   กาว  สำหรับงานตัดและติดแปะ 

มุมดนตรี ควรมีเครื่องดนตรีทั้งที่เป็นของเล่นและของจริง เช่น กลอง ฉิ่ง ระนาด ขลุ่ย กรับ  เครื่องเคาะจังหวะ

มุมวิทยาศาสตร์ ควรมีอุปกรณ์ในการ ทดลอง ศึกษาเรื่องต่างๆ ของสิ่งแวดล้อม  ธรรมชาติ และอื่นๆ เพื่อให้เด็กได้ศึกษาด้วยตนเอง  ทดลองด้วยตนเอง


                    วันนี้ครู้บียร์ให้คัดลายมือ ก-ฮ








วันจันทร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2556

อนุทิน ครั้งที่11

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วัน/เดือน/ปี   30  สิงหาคม  2556      ครั้งที่ 11
    เวลาเข้าสอน  08.00 น.    เวลาเรียน 08.30  น. 
        เวลาเลิกเรียน   12.20 น.



 สื่อสำหรับเด็กปฐมวัย

                      อาจารย์ให้จับกลุ่มละ  5 คน แล้วคิดทำสื่อสำหรับเด็กปฐมวัยโดยอาจารย์แจก กระดาษ   และสีให้ โดยทำสื่อในกระดาษที่อาจารย์แจก เป็นสื่อ การวาดรูป  เป็นตัวบ่งชี้ถึงการเล่น  วิธีการเล่น   การสังเกต และประโยชน์หรือคุณสมบัติที่เด็กจะได้รับในการเล่นสื่อแต่ละ แบบ แต่ละชนิด


 กลุ่มของดิฉันคือ   มดหรรษาพาสังเกต 

                     ลงมือ 
มดตัวน้อย ตัวนิด ;)





เสร็จแล๋วววว
เพื่อนๆ กลุ่มอื่นๆ









อาจารย์บอก...  ให้รายงานดีจะให้ 2 ดาว 
  





(กลุ่มดิฉันเอง)




สุดท้ายอาจารย์ก็ให้   ทุกกลุ่ม \ *.* /